- เรื่องที่ 1 เรื่องของเจ้าชายวัชรมกุฏ กับพระสหายชื่อ พุทธิศรีระ
- เรื่องที่ 2 เรื่องของนางมันทารวดี กับ พราหมณ์หนุ่ม 3 คน
- เรื่องที่ 3 เรื่องของนกแก้วชื่อ วิทัคธจูฑามณี ของพระเจ้าวิกรมเกศริน กับนกขุนทองชื่อ โสมิกา ของเจ้าหญิงจันทรประภา
- เรื่องที่ 4 เรื่องของพระเจ้าศูทรกะ กับพราหมณ์ผู้ซื่อสัตย์ชื่อ วีรวร
- เรื่องที่ 5 เรื่องของนางโสมประภา กับการเลือกคู่ครอง
- เรื่องที่ 6 เรื่องของวันฉลองพระแม่เคารี
- เรื่องที่ 7 เรื่องของพระเจ้าจัณฑสิงห์ กับสัตตวศีล ผู้ซื่อสัตย์
- เรื่องที่ 8 เรื่องของบุตรทั้ง 3 ของพราหมณ์วิษณุสวามิน
- เรื่องที่ 9 เรื่องของการเลือกคู่ของเจ้าหญิงอนงครตี อ่านต่อ
วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
นิทานย่อยในนิทานเวตาล
นิทานเวตาล
นิทานเวตาล
เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนำเข้าไปสู่นิทานย่อยต่างๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม 25 เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง อ่านต่อ
เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนำเข้าไปสู่นิทานย่อยต่างๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม 25 เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง อ่านต่อ
เนื้อเรื่องอิเหนา(ฉบับย่อ)
ริ่มเรื่องกล่าวถึงกษัตริย์วงศ์เทวา ๔ องค์ มีนามตามชื่อกรุงที่ครองราชย์ คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัดส่าหรี ยังมีนครหมันหยาซึ่งเกี่ยวดองเป็นญาติกันกับนครเหล่านี้ โดยท้าวกุเรปันได้นางนิหลาอระตาแห่งหมันหยาเป็นชายา ส่วนท้าวดาหาได้นางดาหราวาตีเป็นชายาเช่นกัน อ่านต่อ
อิเหนา
อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275 – 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้นมาองค์ละเรื่อง เรียกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) ประวัติดังกล่าวมีบันทึกไว้ในพระราชนิพนธ์อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อ่านต่อ
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ อ่านต่อ
ลักษณะการประพันธ์
1. วรรคหนึ่งๆ มีจำนวนคำ 8-10 คำ สองวรรคเป็น 1 คำกลอน หรือ 1 บาท สองคำกลอน
เป็น 1 บท
2. วรรคแรกเรียกว่า วรรคสดับหรือวรรคสลับ วรรคที่สองเรียกว่า วรรครับ วรรคที่สามเรียกว่า วรรครอง และวรรคที่สี่เรียกว่า วรรคส่ง
3. บทแรกของเรื่องเริ่มต้นด้วยวรรครับหรือวรรคที่ 2 และจบเรื่องด้วยคำว่า เอย อ่านต่อ
หลักเกณฑ์การวิจารณ์วรรณคดี
คือ การแยกแยะเพื่อพิจารณาไตร่ตรองหาข้อดีข้อเสียหาจุดเด่นจุดด้อยหาเหตุผลในการจะนำไปสู่การวินิจฉัยตัดสินใจ เพื่ประเมินคุณค่าของหนังสือในด้านต่าง ๆเพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่ง เช่น เพื่อความซาบซึ้ง เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ เพื่อแนะนำหนังสือ อ่านต่อ
ประเภทของวรรณคดีไทย
วรรณคดีที่อาจจำแนกตามเกณฑ์กับลักษณะต่างๆของวรรณคดี ดังต่อไปนี้
๑.จำแนกตามลักษณะของการเขียน
๒.จำแนกตามความมุ่งหมายสำคั
๓.จำแนกตามเนื้อหา
๔.จำแนกตามหลักฐานการได้มา
ต่อไปเราจะมาดูกันว่าการจำแนกประเภทของวรรณคดีต่างละชนิดนั้นมีลักษณะอย่างไร อ่านต่อ
๑.จำแนกตามลักษณะของการเขียน
๒.จำแนกตามความมุ่งหมายสำคั
๓.จำแนกตามเนื้อหา
๔.จำแนกตามหลักฐานการได้มา
ต่อไปเราจะมาดูกันว่าการจำแนกประเภทของวรรณคดีต่างละชนิดนั้นมีลักษณะอย่างไร อ่านต่อ
ความสำคัญของวรรณคดี
ความสําคัญของวรรณคดี
วรรณคดีเป็นสิ่งสร้างสรรค์อันล้ำค่าของมนุษย์ มนุษย์สร้างและสื่อสารเรื่องราวของชีวิต
วัฒนธรรมและอารมณ์ความรู้สึกที่เกี่ยวข้องหรือสะท้อนความเป็นมนุษย์ด้วยกลวิธีการใช้ถ้อยคําสํานวน
ภาษา ซึ่งมีความเหมือนหรือแตกต่างกันไปในแต่ละยุคสมัย อ่านต่อ
วรรณคดีเป็นสิ่งสร้างสรรค์อันล้ำค่าของมนุษย์ มนุษย์สร้างและสื่อสารเรื่องราวของชีวิต
วัฒนธรรมและอารมณ์ความรู้สึกที่เกี่ยวข้องหรือสะท้อนความเป็นมนุษย์ด้วยกลวิธีการใช้ถ้อยคําสํานวน
ภาษา ซึ่งมีความเหมือนหรือแตกต่างกันไปในแต่ละยุคสมัย อ่านต่อ
การวิจักษ์และวิจารณ์วรรณคดี
หมายถึง หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีคุณค่า ซึ่งคำว่า “วรรณคดี” ได้ปรากฏในพระราชกฤษฎีกาการตั้งวรรณคดีสโมสร พ.ศ. ๒๔๕๗ ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖ ) อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)